มานุษยวิทยากายภาพในประเทศไทย

รวบรวมข้อมูลด้านมานุษยวิทยากายภาพของคนในอดีต ที่นักมานุษยวิทยากายภาพ แพทย์ นักโบราณคดี รวมถึงนักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้ศึกษาวิเคราะห์โครงกระดูกมนุษย์ที่พบจากแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย และตีพิมพ์เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ

แหล่งโบราณคดี : บ้านเก่า

รหัสข้อมูล : ฺBK_1960_BK.I_B6

รหัสข้อมูล
ฺBK_1960_BK.I_B6
หมายเลขหลุมฝังศพ
6
หมายเลขโครงกระดูก
F, 6
หมายเลขตัวอย่าง
หลุมขุดค้น
BK.I
แหล่งโบราณคดี
บ้านเก่า
ภาค
ภาคตะวันตก
จังหวัด
กาญจนบุรี
ลุ่มน้ำ
แควน้อย
โครงการ
โครงการความร่วมมือทางโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ระหว่างไทย – เดนมาร์ก พ.ศ. 2503-2505 (The Thai - Danish Prehistoric Expedition 1960-1962)
เพศ
Female
วัย/อายุ
Middle adult, 45 yrs.
สภาพโครงกระดูก

โครงกระดูกพบไม่สมบูรณ์ สภาพค่อนข้างชำรุด ชิ้นส่วนกะโหลกศีรษะบริเวณท้ายทอยแตกหักไม่สมบูรณ์ เช่นเดียวกับบางส่วนของใบหน้าซึ่งชำรุดแตกหักเช่นเดียวกัน

ร่องรอยผิดปกติที่พบบนกระดูก

1. บริเวณส่วนโค้งของกะโหลกศีรษะบน พบรูบนกระดูกรวม 4 รู ปรากฏอยู่ด้านบนของกระดูกข้างขม่อมด้านซ้าย 2 รูและด้านขวา 2 รู ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 - 10 มิลลิเมตร เดิมสันนิษฐานว่าเป็นร่องรอยการเจาะกะโหลกศีรษะ (trephination) เพื่อการรักษา แต่ 'เมื่อได้ตรวจต่อไปโดยละเอียดปรากฏว่าเกิดจากปลวกกินเนื้อกะโหลกจนทะลุเป็นรู' (สุด แสงวิเชียร และวัฒนา สุภวัน "กะโหลกมีรูเจาะคล้าย trephining" ใน รายงานการศึกษาและขุดค้นทางโบราณคดีที่บ้านธาตุและบ้านอ้อมแก้ว อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี สุมิตร ปิติพัฒน์และคณะ บรรณาธิการ 2519, หน้า 40)


ผู้วิเคราะห์
สุด แสงวิเชียร, เพทาย ศิริการุณ และ เจ.บี. ยอร์เกนเซ่น
สถาบัน
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันมานุษยวิทยากายภาพ มหาวิทยาลัยโคเปนฮาเกน ประเทศเดนมาร์ก
แหล่งที่มาข้อมูล
วันที่วิเคราะห์

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ