มานุษยวิทยากายภาพในประเทศไทย

รวบรวมข้อมูลด้านมานุษยวิทยากายภาพของคนในอดีต ที่นักมานุษยวิทยากายภาพ แพทย์ นักโบราณคดี รวมถึงนักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้ศึกษาวิเคราะห์โครงกระดูกมนุษย์ที่พบจากแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย และตีพิมพ์เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ

แหล่งโบราณคดี : บ้านเก่า

รหัสข้อมูล : BK_1960_BK.I_B7

รหัสข้อมูล
BK_1960_BK.I_B7
หมายเลขหลุมฝังศพ
7
หมายเลขโครงกระดูก
G, 7
หมายเลขตัวอย่าง
หลุมขุดค้น
BK.I
แหล่งโบราณคดี
บ้านเก่า
ภาค
ภาคตะวันตก
จังหวัด
กาญจนบุรี
ลุ่มน้ำ
แควน้อย
โครงการ
โครงการความร่วมมือทางโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ระหว่างไทย – เดนมาร์ก พ.ศ. 2503-2505 (The Thai - Danish Prehistoric Expedition 1960-1962)
เพศ
?
วัย/อายุ
Adult
สภาพโครงกระดูก

โครงกระดูกไม่สมบูรณ์ สภาพชำรุด การไหลของดินที่ทับถมทำให้โครงกระดูกถูกพบระเกะระกะไม่ตรงตามลักษณะทางกายวิภาค วัดความยาวของโครงกระดูกจากหลุมฝังศพได้ราว 161.5 เซนติเมตร กะโหลกศีรษะสภาพชำรุดคงเหลือแต่เพียงส่วนเค้าโครงหน้าเท่านั้น

ร่องรอยผิดปกติที่พบบนกระดูก

1. ก้านกระดูกต้นขาซ้ายและขวามีลักษณะโค้งมากกว่าปกติ

ผู้วิเคราะห์
สุด แสงวิเชียร, เพทาย ศิริการุณ และ เจ.บี. ยอร์เกนเซ่น
สถาบัน
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และสถาบันมานุษยวิทยากายภาพ มหาวิทยาลัยโคเปนฮาเกน ประเทศเดนมาร์ก
แหล่งที่มาข้อมูล
วันที่วิเคราะห์

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ