มานุษยวิทยากายภาพในประเทศไทย

รวบรวมข้อมูลด้านมานุษยวิทยากายภาพของคนในอดีต ที่นักมานุษยวิทยากายภาพ แพทย์ นักโบราณคดี รวมถึงนักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้ศึกษาวิเคราะห์โครงกระดูกมนุษย์ที่พบจากแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย และตีพิมพ์เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ

แหล่งโบราณคดี : วัดโพธิ์ศรีใน, บ้านเชียง

รหัสข้อมูล : BC-PSN_2003_B28

รหัสข้อมูล
BC-PSN_2003_B28
หมายเลขหลุมฝังศพ
28
หมายเลขโครงกระดูก
28
หมายเลขตัวอย่าง
หลุมขุดค้น
วัดโพธิ์ศรีใน
แหล่งโบราณคดี
วัดโพธิ์ศรีใน, บ้านเชียง
ภาค
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จังหวัด
อุดรธานี
ลุ่มน้ำ
สงคราม
โครงการ
โครงการวิจัยมานุษยวิทยากายภาพและโบราณคดีเชิงชีววิทยาในประเทศไทย
เพศ
?
วัย/อายุ
Infant, 0-2 yrs.
สภาพโครงกระดูก

โครงกระดูกทารก วางตามแนวแกนทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ พื้นที่ PSN1 กริด S8E13-14 ระดับชั้นดินสมมติ 90-110 cm.dt.

สภาพกระดูกไม่สมบูรณ์ ชำรุด แตกหักหายเป็นส่วนใหญ่ พบร่วมกับกลุ่มภาชนะดินเผาและเศษภาชนะดินเผาลายเขียนสีแดงบนพื้นนวล ลูกกลิ้งดินเผาจำนวน 2 ชิ้น ก้อนเหล็กทรงกลม 1 ก้อน กะโหลกศีรษะขากรรไกรล่าง และกลุ่มกระดูกซี่โครงสุนัขกับชิ้นส่วนเครื่องประดับสำริดที่มีสภาพชำรุดเป็นส่วนใหญ่ (จากการจัดแสดงเป็นเวลานาน) เนื้อกร่อน และหลุดร่อนที่ผิวนอก วางปะปนร่วมกันทั้งช่วงบนและในระดับเดียวกับโครงกระดูก กำหนดอายุราวสมัยปลายวัฒนธรรมบ้านเชียง

โครงกระดูกสภาพชำรุดมาก ใช้ศึกษาได้ราวร้อยละ 5 คือ การประเมินอายุเมื่อตายเท่านั้น ทั้งนี้พบเฉพาะส่วนก้านกระดูกยาวช่วงล่างของร่างกาย คือ ก้านปลายกระดูกต้นขาขวา ก้านกระดูกหน้าแข้งกับกระดูกน่องซ้ายและขวา สภาพชำรุดพบเฉพาะกลางก้าน ส่วนหัวและปลายก้านกระดูกชำรุดแตกหัก

ผู้วิเคราะห์
กรกฎ บุญลพ และนฤพล หวังธงชัยเจริญ
สถาบัน
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
แหล่งที่มาข้อมูล
วันที่วิเคราะห์

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ