มานุษยวิทยากายภาพในประเทศไทย

รวบรวมข้อมูลด้านมานุษยวิทยากายภาพของคนในอดีต ที่นักมานุษยวิทยากายภาพ แพทย์ นักโบราณคดี รวมถึงนักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้ศึกษาวิเคราะห์โครงกระดูกมนุษย์ที่พบจากแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย และตีพิมพ์เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ

แหล่งโบราณคดี : วัดโพธิ์ศรีใน, บ้านเชียง

รหัสข้อมูล : BC-PSN_2003_B40

รหัสข้อมูล
BC-PSN_2003_B40
หมายเลขหลุมฝังศพ
40
หมายเลขโครงกระดูก
40
หมายเลขตัวอย่าง
หลุมขุดค้น
วัดโพธิ์ศรีใน
แหล่งโบราณคดี
วัดโพธิ์ศรีใน, บ้านเชียง
ภาค
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จังหวัด
อุดรธานี
ลุ่มน้ำ
สงคราม
โครงการ
โครงการวิจัยมานุษยวิทยากายภาพและโบราณคดีเชิงชีววิทยาในประเทศไทย
เพศ
?
วัย/อายุ
Child, 4-6 yrs.
สภาพโครงกระดูก

โครงกระดูกเด็ก ฝังท่านอนหงายเหยียดยาวตามแนวแกนทิศตะวันออกเฉียงใต้-ตะวันตกเฉียงเหนือ พื้นที่ PSN 2 กริด S12-13E14-15 ระดับชั้นดินสมมติ 110-150 (125-143) cm.dt.

โครงกระดูกไม่สมบูรณ์ ชำรุด หักหายจากการรบกวนต่าง ๆ ส่วนบนของร่างกายตั้งแต่กระดูกเชิงกรานขึ้นไป ไม่พบแต่อย่างใดเว้นเฉพาะกะโหลกศีรษะมีสภาพชำรุด ยุบ ผุ แตกหัก ฝังศพด้วยการนำภาชนะดินเผาลายเขียนสีแดงบนพื้นนวลและลายขัดมันสีแดงอย่างน้อย 5 ใบทุบแล้วโปรยทับและรองใต้ศพ พบร่วมกับกะโหลกศีรษะและขากรรไกรล่างหมูวางอยู่ทางด้านขวาของปลายเท้า กำหนดอายุราวสมัยปลายของวัฒนธรรมบ้านเชียง

สภาพโครงกระดูกไม่สมบูรณ์ ชำรุดสามารถนำมาศึกษาได้ราวร้อยละ 35-40 พบเฉพาะส่วนกะโหลกศีรษะบนบริเวณหน้าผาก กะโหลกข้างขม่อมซ้ายและขวา กับกระดูกท้ายทอย กระดูกเชิงกราน: ilium ขวา กระดูก ischium ขวา และกระดูก pubis ขวา กระดูกสันหลังช่วงเอวชิ้นที่ 5 กระดูกก้นกบ กระดูกต้นขาซ้ายและขวา กระดูกหน้าแข้งและกระดูกน่องซ้ายและขวา และบางส่วนของกระดูกข้อเท้า ฝ่าเท้า และนิ้วเท้าขวา

ผู้วิเคราะห์
กรกฎ บุญลพ และนฤพล หวังธงชัยเจริญ
สถาบัน
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
แหล่งที่มาข้อมูล
วันที่วิเคราะห์

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ