มานุษยวิทยากายภาพในประเทศไทย

รวบรวมข้อมูลด้านมานุษยวิทยากายภาพของคนในอดีต ที่นักมานุษยวิทยากายภาพ แพทย์ นักโบราณคดี รวมถึงนักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้ศึกษาวิเคราะห์โครงกระดูกมนุษย์ที่พบจากแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย และตีพิมพ์เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ

แหล่งโบราณคดี : วัดโพธิ์ศรีใน, บ้านเชียง

รหัสข้อมูล : BC-PSN_2003_B108

รหัสข้อมูล
BC-PSN_2003_B108
หมายเลขหลุมฝังศพ
108
หมายเลขโครงกระดูก
108
หมายเลขตัวอย่าง
หลุมขุดค้น
วัดโพธิ์ศรีใน
แหล่งโบราณคดี
วัดโพธิ์ศรีใน, บ้านเชียง
ภาค
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จังหวัด
อุดรธานี
ลุ่มน้ำ
สงคราม
โครงการ
โครงการวิจัยมานุษยวิทยากายภาพและโบราณคดีเชิงชีววิทยาในประเทศไทย
เพศ
?
วัย/อายุ
Child, 11-13 yrs.
สภาพโครงกระดูก

โครงกระดูกเด็กพบจากการขุดขยายแนวผนังชั้นดิน ศพน่าจะถูกฝังหรือวางตามแนวแกนทิศตะวันตกเฉียงใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่ PSN3 กริด S14E6-7 ระดับชั้นดินสมมติ 220-230 (220-225) cm.dt.

โครงกระดูกพบเฉพาะบางส่วนของกะโหลกศีรษะบน กระดูกขากรรไกรล่าง และกระดูกสันหลังตั้งแต่ช่วงลำคอถึงช่วงลำตัว สภาพค่อนข้างสมบูรณ์ ยกเว้นกะโหลกศีรษะที่ส่วนบริเวณท้ายทอยติดอยู่ในผนังหลุมขุดค้น กำหนดอายุเบื้องต้นราวสมัยต้นวัฒนธรรมบ้านเชียง

โครงกระดูกพบไม่สมบูรณ์ พบเฉพาะกะโหลกศีรษะบน กระดูกสันหลังช่วงลำคอและลำตัว สามารถใช้ศึกษาได้ราวร้อยละ 5 เท่านั้นในการประเมินอายุเมื่อตาย ทั้งนี้พบกระดูกตามสภาพเบื้องต้น คือ กะโหลกศีรษะบนสภาพค่อนข้างดีในส่วนหน้าผาก ใบหน้า และกระดูกขากรรไกรบน แต่ด้านหลังของกระดูกตั้งแต่ราวกลางหัวจรดท้ายทอยติดอยู่ในแนวผนังชั้นดิน กระดูกขากรรไกรล่างสภาพสมบูรณ์ กระดูกสันหลังช่วงคอชิ้นที่ 1-6 สภาพค่อนข้างสมบูรณ์เช่นเดียวกับกระดูกสันหลังชิ้นที่ 1-3 พบในสภาพสมบูรณ์เช่นกัน

ผู้วิเคราะห์
กรกฎ บุญลพ และนฤพล หวังธงชัยเจริญ
สถาบัน
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
แหล่งที่มาข้อมูล
วันที่วิเคราะห์

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ