มานุษยวิทยากายภาพในประเทศไทย

รวบรวมข้อมูลด้านมานุษยวิทยากายภาพของคนในอดีต ที่นักมานุษยวิทยากายภาพ แพทย์ นักโบราณคดี รวมถึงนักวิชาการในสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้ศึกษาวิเคราะห์โครงกระดูกมนุษย์ที่พบจากแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย และตีพิมพ์เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ

แหล่งโบราณคดี : วัดโพธิ์ศรีใน, บ้านเชียง

รหัสข้อมูล : BC-PSN_2002_B116

รหัสข้อมูล
BC-PSN_2002_B116
หมายเลขหลุมฝังศพ
116
หมายเลขโครงกระดูก
116
หมายเลขตัวอย่าง
หลุมขุดค้น
วัดโพธิ์ศรีใน
แหล่งโบราณคดี
วัดโพธิ์ศรีใน, บ้านเชียง
ภาค
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จังหวัด
อุดรธานี
ลุ่มน้ำ
สงคราม
โครงการ
โครงการวิจัยมานุษยวิทยากายภาพและโบราณคดีเชิงชีววิทยาในประเทศไทย
เพศ
?
วัย/อายุ
Child, 8-12 yrs.
สภาพโครงกระดูก

โครงกระดูกเด็ก

พบในพื้นที่ PSN1

ระดับชั้นดินสมมติ 340-350 cm.dt. สภาพไม่สมบูรณ์

พบเฉพาะส่วนล่างของร่างกายตั้งแต่กระดูกปลายแขนและกระดูกเชิงกรานลงมา

ร่างกายด้านบนติดอยู่ในผนังหลุมด้านทิศตะวันออก

กำหนดอายุเบื้องต้นราวสมัยต้นวัฒนธรรมบ้านเชียง สภาพโครงกระดูกไม่สมบูรณ์

พบเฉพาะส่วนล่างของร่างกาย สภาพชำรุด แตกหัก สามารถใช้ศึกษาได้ร้อยละ 20-25 ในส่วนการประเมินอายุเมื่อตายและร่องรอยผิดปกติบนกระดูกเท่านั้น

เบื้องต้นได้พบโครงกระดูกสภาพ คือ กระดูกปลายแขนด้านนอกและด้านในขวาสภาพสมบูรณ์

กระดูกเชิงกราน ilium ขวาสภาพสมบูรณ์ ส่วน ilium ซ้ายชำรุด ส่วนกลางกระดูกแตกหัก กระดูก ischium ขวาชำรุด

กระดูกต้นขาขวาสภาพสมบูรณ์ กระดูกต้นขาซ้ายชำรุด ปลายก้านกระดูกแตกหัก

กระดูกหน้าแข้งซ้ายสมบูรณ์ กระดูกหน้าแข้งและกระดูกน่องขวาชำรุด

ปลายก้านกระดูกแตกหัก บางส่วนของกระดูกข้อเท้ากับฝ่าเท้าซ้ายและขวา

สภาพค่อนข้างสมบูรณ์

ผู้วิเคราะห์
กรกฎ บุญลพ และนฤพล หวังธงชัยเจริญ
สถาบัน
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
แหล่งที่มาข้อมูล
วันที่วิเคราะห์

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ